Sunday, September 20, 2009
ROLEX en chiffres
Wednesday, September 16, 2009
tada...aaaaa
Tuesday, September 15, 2009
ยุภาวรรณ อุทิศกุล ชั้นฝันถึงเธอ
Tuesday, September 8, 2009
default path in Mac OS X
Thursday, August 20, 2009
easy all-in-one instant messaging!!!
สำหรับเพื่อนที่ใช้แมค ขอแนะนำ Adium
http://pidgin.im
อันนี้เป็น ปลั้คอิน เพื่อเฟสบุคโดยเฉพาะ
http://code.google.com/p/pidgin-facebookchat/
อันนี้คือ อะเดียม
http://www.adium.im/
Sunday, August 16, 2009
รายการอาหาร ในโอกาสฉลองที่เพื่อนแต่งงาน Julien&Caroline
Wednesday, July 8, 2009
เฮ้อ เรียนภาษาไม่ง่ายเล้ยยยยยยย
transcription |
Voix off C'est avec un avant-goût d'indépendance que les Groenlandais ont hissé leur drapeau ce dimanche, une cérémonie en présence de la famille royale danoise. Après 300 ans d'administration par le Danemark, le grand territoire arctique renforce son autonomie. Les Groenlandais en ont décidé ainsi en novembre dernier : consultés par référendum, ils ont approuvé par plus de 75 % des voix leur statut d'autonomie élargie. Jonathan Motzfeldt, porte-parole de la Commission sur l'autonomie C'est essentiel, quand on négocie avec d'autres nations, d'avoir notre propre voix, mais aussi notre propre identité. Voix off Désormais, le Groenland va posséder sa propre police et ses propres tribunaux, la langue des Inuits, qui représentent la grande majorité des 57 000 habitants, devrait également devenir une des deux langues officielles du territoire aux côtés du danois. Mais surtout grâce à son nouveau statut, le Groenland va pouvoir exploiter les richesses de son sous-sol. De l'or, du gaz, de l'uranium entre autres, mais surtout du pétrole qui attise toutes les convoitises. Les Groenlandais comptent sur cette manne pour pouvoir à terme accéder à une indépendance totale. Mais l'extraction de l'or noir, une activité très polluante, pourrait bouleverser l'écosystème fragile du Groenland. À cause du changement climatique, l'île fait déjà face à une importante fonte des glaces qui met en péril son activité de pêche, la principale ressource du pays. Un défi économique et écologique qui dépasse ses frontières, le Groenland renferme en effet 10 % des réserves d'eau douce de la planète. |
Tuesday, June 23, 2009
Note on Multi-objective optimization (??? objective space vs. decision space)
Note on Multi-objective optimization (The duality principle)
ความละอาย...อยู่ที่ไหนหนอ: Where are you, ashamed?
Friday, June 19, 2009
Note on Multi-objective optimization (why evolutionary)
Note on Multi-objective optimization (ideal MO)
Thursday, June 18, 2009
Note on Multi-objective optimization (preference-based MO)
Monday, June 15, 2009
Le futur
Décrire un objet
c'est un objet qui coupe
des objets pour...
L'invention
French exams!!! - Les plats sur surgelés
Sunday, June 7, 2009
Monday, May 25, 2009
พันทะมิด หรือ 1000 ทมิฬ
4 days in da paradise... (my own room)
Saturday, May 2, 2009
Tips สำหรับการทำอาหารไทย ตอนที่ หนึ่ง
ให้หมักหมูกับน้ำปลาเล็กน้อยก่อน
ต้มถั่วฝักยาวพอสุกพักไว้
แล้วผัดหมูพอสุกพักไว้
ผัดน้ำพริกเครื่องแกงให้พอหอม แล้วค่อยใส่หมู ปรุงรส ใส่ถั่ว ยกขึ้น
พะแนง
ไก่
ให้รวนไก่พอสุกพักไว้
ผัดพริกแกงกับน้ำมันให้หอม เติมกะทิ ใช้ไฟอ่อน ให้แตกมัน
ใส่ไก่และส่วนผสมอื่น ปรุงรส เคี่ยวไฟอ่อนให้ไก่นุ่ม ตามด้วยโหระพายกขึ้น
เนื้อ
ต้องเคี่ยวเนื้อกับหางกะทิให้เปื่อยก่อนผัดกับพริกแกงแตกมัน
แกงจืดวุ้นเส้น
รากผักชี พริกไทย กระเทียมโขลกละเอียด แล้วเอาไปผัดให้หอม
ตามด้วยหมู หรือหมูสับ
ปรุงรสด้วยน้ำปลา
แล้วเติมน้ำซุปนิดหน่อย
ใส่วุ้นเส้นที่แช่น้ำไว้ และเครื่องผักอื่นๆ ผัดประมาณห้านาที
เติมน้ำซุปที่เหลือตั้งไฟให้เดือด แล้วใส่น้ำปลาชิมรส
ปิดท้ายด้วยใส่ต้นหอมหั่นท่อนสั้น แล้วยกลง
แกงจืดมะระยัดไส้หมูสับ
รากผักชี พริกไทย กระเทียมโขลกละเอียด ผสมกับหมูสับ และซีอิ๊วขาวนิดหน่อย
Thursday, April 9, 2009
9th day of my diet
Monday, March 30, 2009
my first diet day!
Sunday, March 8, 2009
เทียบอัตราส่วนแบบต่างๆ ในการทำอาหาร และขนม
1 ช้อนโต๊ะ=3 ช้อนชา
1 ถ้วย=16 ช้อนโต๊ะ
1 กิโลกรัม=2.21 ปอนด์
1 ปอนด์=454 กรัม
1 ปอนด์=16 ออนซ์
เนย
1 ออนซ์=2 ช้อนโต๊ะ
1 ถ้วย=8 ออนซ์
1 ถ้วย=1/2 ปอนด์
1 ถ้วย=227 กรัม
น้ำตาลทรายขาวละเอียด
1 ถ้วย=180 กรัม
2 1/2 ถ้วย=1 ปอนด์
น้ำตาลทรายแดง
1 ถ้วย=185 กรัม
2 2/5 ถ้วย=1 ปอนด์
เม็ดมะม่วงหิมพานต์
1ถ้วย(ยังไม่บด) เท่ากับ 130กรัม
1ถ้วย(บดแล้ว) เท่ากับ140กรัม
ถั่วลิสงคั่ว
1ถ้วย(ยังไม่บด) เท่ากับ120กรัม
1ถ้วย(บดแล้ว) เท่ากับ 125กรัม
แป้งเค้ก โดยเฉลี่ย
1 ถ้วย(ยังไม่ร่อน) เท่ากับ 105กรัม
1ถ้วย (ร่อนแล้ว) เท่ากับ 90กรัม
แป้งเอนกประสงค์โดยเฉลี่ย
1ถ้วย(ยังไม่ร่อน) เท่ากับ 115กรัม
ถ้วย(ร่อนแล้ว) เท่ากับ 100กรัม
ผงฟู
1ช้อนชา เท่ากับ 2.5กรัม
โซดาไบคาร์บอเนต
1ช้อนชา เท่ากับ 3กรัม
ลูกเกด
1ถ้วย(ยังไม่หั่น) เท่ากับ 145กรัม
1ถ้วย (หั่นแล้ว) เท่ากับ 150กรัม
อินทผลัม
1ถ้วย (แกะแต่เนื้อ) เท่ากับ120กรัม
1ถ้วย (แกะและหั่น) เท่ากับ 135กรัม
น้ำ
1ถ้วย เท่ากับ 220กรัม
แบบที่2
มาตราส่วนทั่วไป
3 ช้อนชา = 1 ช้อนโต๊ะ
2 ช้อนโต๊ะ = 1 / 8 ถ้วยตวง
4 ช้อนโต๊ะ = 1/ 4 ถ้วยตวง
12 ช้อนโต๊ะ = 3/ 4 ถ้วยตวง
16 ช้อนโต๊ะ = 1 ถ้วยตวง
1 ไพน์ = 2 ถ้วย
1 ควอท = 4 ถ้วย
1 แกลลอน = 4 ควอท
1 ออนซ์ (ของเหลว) = 2 ช้อนโต๊ะ
1 ถ้วย = 8 ออนซ์
1 ออนซ์ (ของแห้ง) = 28.3 กรัม
1 ปอนด์ = 16 ออนซ์ หรือ 454 กรัม
1 กิโลกรัม = 2.2 ปอนด์
มาตราส่วนสำหรับแป้งสาลี
แป้งขนมปัง (ตราห่าน) 1 ถ้วย = 110 กรัม
แป้งเอนกประสงค์ (ตราว่าว) 1 ถ้วย = 95 กรัม
แป้งเค้ก (ตราพัดโบก) 1 ถ้วย = 90 กรัม
แป้งสาลีชนิดเบาที่สุด (ตราบัวแดง)
ถ้วย = 90 กรัม
แป้ง Whole Wheat 1 ถ้วย = 70 กรัม
แป้งข้าวโพด 1 ถ้วย = 100 กรัม
ข้าวโอ๊ต 1 ถ้วย = 75 กรัม
มาตราส่วนสำหรับส่วนผสมชนิดอื่น ๆ
(1) น้ำตาล
น้ำตาลทราย 1 ถ้วย = 185 กรัม
น้ำตาลทรายแดง 1 ถ้วย = 180 กรัม
น้ำตาลไอซิ่ง 1 ถ้วย = 85 กรัม
น้ำผึ้ง 1 ถ้วย = 300 กรัม
(2) ไขมัน
เนยสด (หรือมาการีน) 1 ถ้วย = 200 กรัม
เนยขาว 1 ถ้วย = 185 กรัม
Peanut Butter 1 ถ้วย = 240 กรัม
Pastry Margarine 1 ถ้วย = 200 กรัม
น้ำมันพืช 1 ถ้วย = 200 กรัม
(3) ไข่
ไข่ไก่ (ขนาดกลาง) 1 ฟอง = 50 กรัม
ไข่แดง 1 ฟอง = 17 กรัม
ไข่ขาว 1 ฟอง = 33 กรัม
(4) นมและผลิตภัณฑ์นม
นมข้นจืดระเหย 1 ถ้วย = 240 กรัม
นมผงขาดมันเนย 1 ถ้วย = 120 กรัม
ครีมข้น 1 ถ้วย = 225 กรัม
วิปปิ้งครีมสด 1 ถ้วย = 200 กรัม
(5) สารขึ้นฟู
ยีสต์แห้ง 1 ช้อนโต๊ะ = 7 กรัม
โซดาไบคาร์บอเนต (Baking Soda) 1 ช้อนโต๊ะ = 10 กรัม
ผงฟู (Baking Powder) 1 ช้อนโต๊ะ = 8 กรัม
ครีมออฟทาร์ทาร์ (Cream of Tartar) 1 ช้อนโต๊ะ = 7 กรัม
แอมโมเนีย (เช้าก่า) 1 ช้อนโต๊ะ = 10 กรัม
(6) เบ็ดเตล็ด
ผงโกโก้ 1 ถ้วย = 65 กรัม
Chocolate สำเร็จรูป 1 ถ้วย = 200 กรัม
Chocolate สำเร็จรูปสำหรับแต่งหน้า 1 ถ้วย = 120 กรัม
น้ำ 1 ถ้วย = 225 กรัม
วานิลา 1 ช้อนโต๊ะ = 10 กรัม
กาแฟสำเร็จรูป 1 ช้อนโต๊ะ = 2 กรัม
น้ำใบเตยคั้นข้น 1 ช้อนโต๊ะ = 15 กรัม
เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ = 10 กรัม
แบบที่3
มาตรส่วนเปรียบเทียบน้ำหนักและการตวง ของ UFM
แป้งพัดโบก,บัวแดง 1 ถ.= 90 ก. , 3/4 = 67.5 , 2/3 = 60 , 1/2 = 45 , 1/3 = 30 , 1/4 = 22.5 ,
1ช.ต. = 5.6
แป้งว่าว 1 ถ.= 95 ก., 3/4 = 71.3 , 2/3 = 60 , 1/2 = 47.5 , 1/3 = 31.6 , 1/4 = 23.8 , 1 ช.ต. = 5.9
แป้งห่าน 1 ถ. = 110 ก., 3/4 = 82.5 , 2/3 = 73.3 , 1/2 = 55 , 1/3 =36.6 , 1/4 = 27.5 , 1 ช.ต. = 6.8
น้ำตาลทราย 1 ถ. = 185 ก., 3/4 = 138.8 , 2/3 = 123.3 , 1/2 = 92.5 , 1/3 = 61.6 , 1/4 = 46.3 ,
1 ช.ต. = 11.5
น้ำตาลทรายแดง 1 ถ. = 180 ก., 3/4 = 135 , 2/3 = 120 , 1/2 = 90 , 1/3 = 60 , 1/4 = 45 , 1 ช.ต. = 11.3
ไอซิ่ง 1 ถ. = 100 ก., 3/4 = 75 , 2/3 = 66.6 , 1/2 = 50 , 1/3 = 33.3 , 1/4 = 25 , 1 ช.ต. = 6.2
เนยสด,มาร์การีน 1 ถ. = 200 ก., 3/4 = 150 , 2/3 = 133.3 , 1/2 = 100 , 1/3 = 66.6 , 1/4 = 50 ,
1 ช.ต. = 12.5
เนยขาว 1 ถ. = 185 ก., 3/4 = 138.8 , 2/3 = 123.3 , 1/2 = 92.5 , 1/3 = 61.6 , 1/4 = 46.3 , 1 ช.ต. = 11.5
นมสด 1 ถ. = 244 ก., 1/2 = 122 , 1/3 = 81 , 1/4 = 61 , 1 ช.ต. = 12
นมผง 1 ถ. = 120 ก., 3/4 = 90 , 2/3 = 80 , 1/2 = 60 , 1/3 = 40 , 1/4 = 30 , 1 ช.ต. = 7.5
น้ำ 1 ถ. = 225 ก., 3/4 =168.7 , 2/3 = 150 , 1/2 = 112.5 , 1/3 = 75 , 1/4 = 56.2 , 1 ช.ต. = 14.06
ผงโกโก้ 1 ถ. = 65 ก., 3/4 = 48.7 , 2/3 = 43.2 , 1/2 = 32.5 , 1/3 = 21.6 , 1/4 = 16.2 , 1 ช.ต. = 4.06
ยีสต์ 1 tbsp = 7 g , 1 tsp = 2.3 , 1/2 tsp = 1.1 , 1/4 tsp = 0.5
เบคกิ้งโซดา 1 tbsp = 10 , 1 tsp = 3.3 , 1/2 tsp = 1.6 , 1/4 tsp = 0.8
ผงฟู 1 tbsp = 8 , 1 tsp = 2.6 , 1/2 tsp = 1.3 , 1/4 tsp = 0.6
น้ำหอม,เกลือ,น้ำมะนาว 1 tbsp = 10 , 1 tsp = 3.3 , 1/2 tsp = 1.6 , 1/4 tsp = 0.8
พริกไทยป่น 1 tbsp = 6 , 1 tsp = 2 , 1/2 tsp = 1 , 1/4 tsp = 0.5
อบเชยป่น 1 tbsp = 3 , 1 tsp = 1 , 1/2 tsp = 0.5 , 1/4 tsp = 0.25
แป้งตราห่าน -- แป้งทำขนมปังค่ะ
แป้งตราว่าว (อันนี้คือ All-purpose ใช่ป่าวเอ่ย) -- ถูกต้องนะค้าบบบบ
แป้งตราบัวแดง -- แป้งสาลีชนิดพิเศษ เห็นว่าเหมาะกับการทำปุยฝ้ายค่ะ
แป้งตราพัดโบก-- แป้งเค้กค่ะ
ขอขอบคุณข้อมูลจากกระทู้นี้คะ
Tuesday, February 10, 2009
L'art de préparer poissons, crustacés et mollusques
Coupez la tête
COUPER (vt) cut
puis incisez le poisson en deux sur toute la longueur du ventre.
INCISER (vt) make an incision in ^^ ผ่ากลางตัวคร้าบพี่น้อง
VENTRE (nm) stomach, belly, womb
Videz-le et jetez les entrailles.
VIDER (vt) 1. empty, throw out 2. (poisson) gut
JETER (vt) throw away
ENTRAILLES (nf. pl.) ensemble des organes enfermés dans l'abdomen de l'homme ou des animaux
Aplatissez le poisson sur toute sa longueur en appuyant sur l'arête centrale
APLATIR
APPUYER SUR (vi) press (on)
avec le pouce ou à l'aide d-un pertit rouleau à pâtisserie.
Passez délicatement un couteau bien aiguisé sous l'arête
pour lever les filets sans entailler la chair.
Friday, January 30, 2009
optimization/approximation algorithms/polynomial time/... NP-HARD
An optimization problem is polynomial time solvable only if it has the algorithmically relevant combinatorial structure that can be used as "footholds" to efficiently home in on an optimal solution. The process of designing an exact polynomial time algorithm is a two-pronged attack: unraveling this structure in the problem and finding algorithmic techniques that can exploit this structure.
Although NP-hard optimization problems do not offer footholds for finding optimal solutions efficiently, they may still offer footholds for finding near-optimal solutions efficiently. So, at a high level, the process of design of approximation algorithms is not very different from that of design of exact algorithms. It still involves unraveling the relevant structure and finding algorithmic techniques to exploit it. Typically, the structure turns out to be more elaborate, and often the algorithmic techniques result from genralizating and extending some of the powerful algorithmic tools developed in the study of exact algorithms.
On the other hand, looking at the process of designing approximation algorithms a little more closely, one can see that it has its own general principles.
ref: Vijay V. Vazirani, Introduction, 'Approximation algorithms', Springer2003.